มะเร็งลำไส้รักษาได้ไหม

มะเร็งลำไส้เป็นหนึ่งในมะเร็งที่มีอัตราการเกิดและอัตราการเสียชีวิตสูง เนื่องจากในระยะเริ่มต้นของโรคไม่มีอาการชัดเจน ผู้ป่วยตรวจพบมะเร็งลำไส้นั้นส่วนใหญ่เป็นระยะขั้นกลางและสุดท้ายแล้ว หลังจากตรวจพบว่าตนเองเป็นมะเร็งลำไส้ระยะสุดท้าย ผู้ป่วยส่วนใหญ่จะรู้สึกว่าตนเองนั้น เดินทางมาถึงจุดสุดท้ายของชีวิต ส่วนใหญ่จะรู้สึกว่าตนเองเหลือเวลาบนโลกนี้อีกไม่นาน มากนักจนทำให้หมดหวังกับชีวิตแต่ปัจจุบันนี้เทคนิคการแพทย์รักษาโรคมะเร็งพัฒนามาก ขึ้น มะเร็งลำไส้รักษาไม่ได้จริงหรือไม่

ตัวอย่างผู้ป่วยมะเร็งลำไส้ของฟูด้าหลังทำการรักษารอดชีวิตด้วยคุณภาพชีวิตที่ดี

คุณน้าเซี่ย ชาวจีนฮ่องกง มะเร็งลำไส้ระยะสุดท้าย

ในช่วงเช้าของเดือนกรกฎาคมปี 2017 คุณน้าเซี่ยไม่สามารถอดทนกับอาการปวดท้องของเธอได้ จึงเดินทางไปตรวจที่โรงพยาบาลในฮ่องกง พบว่าเจอเนื้องอกขนาด 3*3 cm หนึ่งสัปดาห์ต่อมา เธอถูกวินิจฉัยว่าเป็นโรคมะเร็งทวารหนัก แพทย์วางแผนการรักษาให้เธอทำการผ่าตัดสองครั้ง ครั้งที่หนึ่งคือผ่าตัดเปิดหน้าท้องเพื่อทำช่องผ่านหน้าท้องแบบชั่วคราว การผ่าตัดครั้งที่สองคือการเย็บหน้าท้อง ในอีกไม่กี่เดือนข้างหน้าหลังการรักษาฉายแสง 25 ครั้งและเคมีบำบัดอีก 6 ครั้ง เพื่อช่วยลดขนาดเนื้องอก แล้วเสร็จ หลังจากฟังคำแนะนำอย่างละเอียดจากแพทย์แล้ว เธอรู้สึกกลัวขึ้นมา

เมื่อวันที่ 28 สิงหาคม 2017 คุณน้าเซี่ยตัดสินใจเข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาลมะเร็งฟูด้าทันทีในช่วงสิ้นปี 2017 เธอทำการรักษากับโรงพยาบาลทั้งหมด 5 ครั้ง รักษาด้วยคีโมเฉพาะจุดกับแสงจำเพาะ เมื่อวันที่ 7 ธันวาคม 2017 หลังจากการตรวจติดตามผลพบว่าเนื้องอกมีขนาดหดเล็กลง และค่ามะเร็งลดลงกลับสู่ระดับปกติ ศ.นพ.หนิวลี่จื้อแจ้งว่า เนื้องอกถูกควบคุมไว้แล้ว เธอไม่จำเป็นต้องเข้ารับการผ่าตัด เธอจับมือ ศ.นพ.หนิวลี่จื้อ อย่างตื่นเต้นและกล่าวขอบคุณอย่างตื้นตันใจ  อ่านเรื่องราวเพิ่มเติม>>

การรักษามะเร็ง 21 วิธี รักษาเฉพาะทางได้ครบด้าน

วิธีการรักษาทั่วไป

ผ่าตัด ฉายรังสี คีโม รักษาด้วยยามุ่งเป้า สลายด้วยคลื่นความถี่สูง สลายด้วยสารเคมี การใส่ขดลวดตาข่ายครอบรังสี การใช้ยาสมุนไพรจีน การใช้ยาสมุนไพรจีนสมัยใหม่ การฉีดแอลกอฮอล์บริสุทธิ์ การใช้ยาระงับเส้นเลือดเกิดใหม่

วิธีการรักษาพิเศษ

การสลายด้วยมีดนาโน การสลายด้วยความเย็น การรักษาอุดเส้นเลือดและคีโมเฉพาะจุด การให้คีโมเฉพาะจุดแบบ hepasphere การรักษาด้วยแสงจำเพาะ การรักษาสร้างภูมิคุ้มกันแบบองค์รวม การสลายด้วยคลื่นไมโครเวฟ การรักษาด้วยความร้อนของคลื่นไมโครเวฟ การรักษาสร้างภูมิคุ้มกันด้วยโอโซน

พวกเขาได้รับชีวิตใหม่จากที่นี่

แพทย์ผู้เชี่ยวชาญของเรา
  • ศ.นพ.หนิวลี่จื้อ
    • หัวหน้าแพทย์
    • รองผู้อำนวยการของโรงพยาบาล
    • ประธานโรงพยาบาลฟูด้า
    นัดหมาย
    ศึกษาข้อมูลเพิ่มเติม
  • ศ.นพ.เจิงจงยวน หัวหน้าแพทย์
    • หัวหน้าแพทย์
    • ศาสตราจารย์
    • ผู้เชี่ยวชาญที่ได้รับทุนพิเศษจากสภาแห่งรัฐ
    นัดหมาย
    ศึกษาข้อมูลเพิ่มเติม
  • รอง ศ.นพ.เผียวเชี่ยงฮ่าว
    • รองศาสตราจารย์
    • ผู้อำนวยการบำบัด
    • ผู้เชี่ยวชาญจบการรักษาแบบเปิดแผลเล็กจากญี่ปุ่น
    นัดหมาย
    ศึกษาข้อมูลเพิ่มเติม
  • นพ.หลิวซู่เผิง
    • แพทย์ผู้เชี่ยวชาญ
    นัดหมาย
    ศึกษาข้อมูลเพิ่มเติม
  • นพ.หลงซินอัน
    • แพทย์ผู้เชี่ยวชาญ
    นัดหมาย
    ศึกษาข้อมูลเพิ่มเติม
  • หัวหน้าเทคนิคการแพทย์ หลี่หลงหลง
    • หัวหน้าเทคนิคการแพทย์
    • แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านเทคนิค
    นัดหมาย
    ศึกษาข้อมูลเพิ่มเติม
ผู้เชี่ยวชาญทั้งหมด

ความไว้วางใจจากผู้ป่วยในกว่า 100 ประเทศทั่วโลก

*ผู้ป่วยส่วนใหญ่มาจาก :


ตั้งแต่สร้างโรงพยาบาลขึ้นมาจนถึงปัจจุบัน โรงพยาบาลมะเร็งฟูด้าในสังกัดมหาวิทยาลัยจี้หนานได้รักษาผู้ป่วยมากกว่า 100 ประเทศ ในนั้นมีผู้ป่วยจากตะวันออกเฉียงใต้จำนวนกว่า 10000 ราย ซึ่งได้รับความไว้วางใจจากผู้ป่วยทั่วโลก

แนะนำฟูด้า

โรงพยาบาลมะเร็งฟูด้าในสังกัดของมหาวิทยาลัยจี้หนานเป็นโรงพยาบาลเฉพาะด้านโรคมะเร็งระดับสูงสุดภายใต้การดูแลของกระทรวงสาธารณะสุขแห่งมณฑลกวางตุ้ง ทั้งยังเป็นโรงพยาบาลเฉพาะด้านโรงมะเร็งแห่งแรกที่รับรองมาตรฐานJCIในมณฑลกวางตุ้ง ในปี 2010 ได้รับการคัดเลือกให้เป็นโรงพยาบาลเฉพาะทางแห่งชาติ และในปี 2011 ได้รับการประเมินให้เป็นโรงพยาบาลเฉพาะด้านแห่งมณฑลกวางตุ้งโรงพยาบาลมะเร็งฟูด้าเป็นโรงพยาบาลแบบสากล รักษาผู้ป่วยมะเร็งจากกว่า 100 ประเทศด้วยแนวคิดต่อต้านมะเร็งพิเศษ(ให้ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตดีและรอดชีวิตได้นาน)และวิธีการรักษาแบบแผลเล็กที่ทันสมัยกว่า 20 วิธี เช่นการรักษาด้วยมีดนาโน การรักษาด้วยความเย็น กรรักษาแบบคีโมเฉพาะจุด เป็นต้น


หากได้รับการวินิจฉัยเป็นมะเร็งตับอ่อน การเลือกวิธีการรักษาที่ได้ผลจะสำคัญมาก โดยเฉพาะมะเร็งระยะสุดท้ายที่ไม่เหมาะกับการผ่าตัด คีโมและฉายแสง การเลือกวิธีการรักษาที่ถูกต้องนั้นสามารถยืดชีวิตของผู้ป่วยและรักษาให้ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตดีและมีประสิทธิภาพ